สินค้า
บทความ
ประวัติคณาจารย์
ประวัติหลวงพ่อกวย วัดโฆษิตาราม
ประวัติหลวงพ่อแพ วัดพิกุลทอง
ประวัติพระพุฒาจารย์ เอนกสถาน ปรีชาฯ (ท่านเจ้ามา)
หลวงพ่อจันทร์ โฆสโก วัดหาดสองแคว
หลวงพ่อกล่อม พรมสโร วัดป่ากะพี้
หลวงพ่อไซร้ ติสสฺโร วัดช่องลม
หลวงปู่เขียน วัดสำนักขุนเณร
หลวงพ่อสว่าง วัดท่าพุทรา
หลวงปู่ทิม วัดระหารไร่
หลวงปู่ศุข วัดปากคลองมะขามเฒ่า
หลวงพ่อเงิน วัดบางคลาน
หลวงพ่อเดิม วัดหนองโพธิ์
หลวงพ่อทบ วัดชนแดน
หลวงปู่ทองดำ วัดท่าทอง
หลวงปู่พิมพา วัดหนองตางู
ประวัติพระกรุ
พระผงสุพรรณ จ.สุพรรณบุรี
พระรอด กรุมหาวัน
พระซุ้มกอ (พระกำแพงซุ้มกอ) จ.กำแพงเพชร
พระหลวงพ่อเงินกรุวัดขวาง
พระนางพญาพิษณุโลก
พระนางพญากรุเจดีย์กลางน้ำ
ประวัติพระเครื่อง/เครื่องราง/มีดหมอ
ประวัติพระสมเด็จวัดเกศไชโย
ประวัติพระสมเด็จวัดบางขุนพรหม
พระชัยวัฒน์ท่านเจ้ามา
พระสมเด็จวัดะฆัง
ประวัติการสร้างเหรียญพระยาพิชัยดาบหัก รุ่นแรก ปีพ.ศ.2513
ขั้นตอนการสร้างตะกรุด หลวงพ่อทบ
การสร้างตะกรุดลูกปืน
ประวัติการลงสูตรลบผงหลวงพ่อทบ
ประวัติตะกรุดหลวงพ่อทบ วัดชนแดน
ประวัติมีดหมอหลวงพ่อเดิม
รู้ทันพระแท้
พระสมเด็จวัดเกศไชโยพิมพ์เจ็ดชั้นอกตลอด
'พระสมเด็จวัดเกศไชโยพิมพ์ ๖ ชั้นอกตัน
พระสมเด็จเกศไชโยพิมพ์ ๗ ชั้น
พระสมเด็จอรหังพิมพ์เล็กมีประภามณฑล
พระสมเด็จอรหังพิมพ์ฐานคู่
'พระสมเด็จอรหังพิมพ์ใหญ่ ฐานสามชั้น
'พระสมเด็จวัดบางขุนพรหม พิมพ์ใหญ่พระอุระเล็ก (อกเล็ก)
'พระสมเด็จวัดบางขุนพรหมพิมพ์ใหญ่ พระกรโค้ง' (แขนโค้ง)
พระสมเด็จวัดบางขุนพรหมพิมพ์ใหญ่
พระสมเด็จวัดบางขุนพรหม พิมพ์อกครุฑเล็ก
พระสมเด็จวัดบางขุนพรหม พิมพ์อกครุฑ
'พระสมเด็จวัดบางขุนพรหม พิมพ์สังฆาฏิไม่มีพระกรรณ
'พระสมเด็จวัดบางขุนพรหมพิมพ์สังฆาฏิ
'พระสมเด็จวัดบางขุนพรหมพิมพ์ฐานแซมพระอุระร่อง
'พระสมเด็จวัดบางขุนพรหมพิมพ์ฐานแซม
พระสมเด็จวัดบางขุนพรหมพิมพ์เส้นด้ายฐานแคบ
พระสมเด็จพิมพ์เส้นด้ายอกวี
พระสมเด็จวัดบางขุนพรหม พิมพ์เส้นด้ายแขนกลม
พระสมเด็จวัดบางขุนพรหมพิมพ์เส้นด้าย
พระสมเด็จบางขุนพรหม พิมพ์ใหญ่พระพักตร์เล็ก
พระรอดพิมพ์ต้อวัดมหาวัน
พระรอดพิมพ์กลางวัดมหาวัน
พระรอดพิมพ์เครื่องราชฯพิมพ์ที่ 2
พระรอดพิมพ์เครื่องราชพิมพ์ที่ 1
ตำหนิ พระซุ้มกอ(พิมพ์ใหญ่มีกนก) จ.กำแพงเพชร
พระนางพญาพิมพ์เข่าโค้ง
ชั่วโมงเซียน - เหรียญจบที่...ขอบ
การดูพื้นเหนรยญพระปั้ม
หลักการดูพระทั่วๆไป
การดูมีดหลวงพ่อเดิม
บทความทั่วไป
พระรอดพิมพ์ตื้นวัดมหาวัน
เรื่องใกล้ตัวแมลงกินพระเนื้อว่าน
เล่นพระยังไง ให้เป็นซะที
ประมูลพระเครื่อง
ปฎิทิน
April 2024
Sun Mon Tue Wed Thu Fri Sat
 
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
    
สถิติ
เปิดเมื่อ5/10/2011
อัพเดท27/02/2013
ผู้เข้าชม855207
แสดงหน้า1045823




พระฤาษี ครูบาแก้ว

เข้าชม 2522 | ตอบ 0
 
พระฤาษี ครูบาแก้ว
 
  • ลูกค้าบูชาไปแล้ว
  • รหัสสินค้า : 003
  • ยี่ห้อ : มหาฤาษีวัดเขื่อนคำลือ
  • รุ่น : สร้าง 999 องค์
  • ฤาษี ครูบาแก้ว อินฺทจกกฺโก โค๊ด 236

    อดีตเจ้าอาวาสวัดเขื่อนคำลือ ต.เวียงทอง อ.สูงเม่น จ.แพร่

    ครูบาแก้ว อินฺทจกฺโก เดิมชื่อ นายแก้ว นามสกุล ธรรสุข นามบิดา ชื่อนายใจขาว มารดาชื่อ นางน้าว ท่านเกิดเมื่อวันที่ ๒๐ กันยายน พ.ศ.๒๔๔๘ เมื่ออายุครบบวชได้เข้าสู่ร่มกาสาวพักตร์ ณ พัทธสีมา วัดฝั่งหมิ่น อำเภอสูงเม่น จังหวัดแพร่ โดยมี พระครูนิวิฐศรัทธาคุณ วัดร่องกาศ เป็นอุปัชฌาย์ พระพรหม พรหมจกโก วัดร่องกาศ เป็นกรรมวาจาจารย์ ให้นามฉายาว่า \'อินฺทจกฺโก\'

    เมื่ออุปสมบทแล้ว ได้จำพรรษา ณ วัดฝั่งหมิ่น มาโดยตลอด จนได้เป็นเจ้าอาวาสวัดฝั่งหมิ่นมาจนถึง พ.ศ.๒๔๘๒ ได้ย้ายมาเป็นเจ้าอาวาสวัดเขื่อนคำลือ

    เมื่อท่านยังมีชีวิตอยู่ ท่านมีความรู้ และความชำนาญทางการสร้าง การเขียนรูปภาพต่างๆ เป็นอย่างดี ตลอดเวลาท่านได้อบรมสั่งสอนศรัทธาประชาชน ทายกทายิกา อยู่เสมอ จะเห็นได้ว่าแม้ในพรรษา จะมีศรัทธาชาวบ้าน มาทำบุญกันเป็นประจำทุกวันพระมิได้ขาด ผลงานของท่านที่ปรากฏ คือ สร้างพระอุโบสถ ๑ หลัง กุฏิ ๒ หลัง หอไตร ๑ หลัง หอกอง ๑ หลัง ศาลาการเปรียญ ๑ หลัง หอฉัน ๑ หลัง และกุฏิเล็ก อีก ๒ หลัง โดยกุฏิ ๒ หลังท้าย ท่านได้สละทรัพย์ส่วนตัวของท่านเองเป็นส่วนใหญ่ และยังได้ดำริสร้างกำแพงรอบวัดด้วย ส่วนฟื้นที่ในบริเวณวัด เดิมไม่สม่ำเสมอ ท่านได้สละทรัพย์ส่วนตัวท่านจ้างรถเกรดปรับระดับพื้นที่บริเวณวัดจนเสร็จเรียบร้อย เมื่อปี ๒๕๒๒ และได้ผูกพัทธสีมา เพื่อจะได้เป็นสถานที่ประกอบศาสนกิจของสงฆ์ และเป็นสถานที่อุปสมบทกุลบุตรของศรัทธาทั่วไปอีกด้วย

    ในสมัยที่ครูบายังหนุ่มอยู่นั้น ท่านเป็นคนชอบศึกษาในวิชาไสยศาสตร์โดยไปขอฝากตัวเป็นศิษย์ ของครูบาเจ้าศรีวิชัย วัดบ้านปาง ในสมัยที่ครูบามาบูรณะพระธาตุช่อแฮ และได้ตำราลงทอง ๑๐๘ แผ่นมา และต่อมาได้เข้าฝากตัวเป็นศิษย์ กับครูบา สุรินทร์ สุรินฺโท วัดน้ำอ่าง จังหวัดอุตรดิตถ์ ได้ฝากตัวเป็นศิษย์ ครูบาคันธา คนฺธาโร วัดโพธิสุนทร เพื่อศึกษาวิชาอยู่ยงคงกระพัน และการลง ตระกรุด และผ้ายันย์ต่างๆ ได้ไปศึกษาวิชาปั้นพระ หล่อพระ เขียนรูปภาพ วิชาโหราศาสตร์จากครูบา ชัยลังกา วัดพระหลวง อ.สูงเม่น ท่านเป็นเกจิอาจารย์ชื่อดัง ของจังหวัดแพร่ มีพลังจิตสูง พร้อมด้วยความรู้ทางด้านไสยศาสตร์ เป็นเยี่ยม จนได้รับอาราธนา ให้ไปร่วมพิธีพุทธาภิเษกกับเกจิอาจารย์อื่นๆ ในต่างจังหวัดบ่อยครั้ง

    ด้านการสร้างวัตถุมงคลของครูบาแก้ว อินฺทจกฺโก นั้นได้สร้างขึ้นไม่มากนัก จะเด่นดีทางด้านเมตตามหานิยม แคล้วคลาด

    รุ่นแรก ปี พ.ศ. ๒๕๑๑ เหรียญรูปเหมือนแปดเหลี่ยม
    รุ่นที่สอง ในปี พ.ศ.๒๕๑๘ (รุ่นแก้วสารพันนึก) มีทั้ง มหาฤาษี หนุมานแผลงฤทธิ์ และ เหรียญรูปไข่ พิธีมหาพุทธาภิเษก เมื่อวันที่ ๑๙ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๑๘
    รายละเอียดจำนวนการสร้าง

    ๑. มหาฤาษี จัดสร้างจำนวน ๙๙๙ องค์ ตอกเลขเรียงลำดับ ๑-๙๙๙

    ๒. เหรียญรูปไข่ครูบาแก้ว อินฺทจกฺโก

    · เนื้อเงิน สร้างจำนวน ๙๙๙ องค์ ตอกเลขเรียงลำดับ

    · เนื้อนวโลหะ สร้างจำนวน ๑๙๙๙ องค์ ตอกเลขเรียงลำดับ

    · เนื้อทองแดง กะไหล่ทอง สร้างจำนวน ๔๙๙๙ องค์ ตอกเลขเรียงลำดับ

    · เนื้อทองแดง สร้างจำนวน ๕๙๙๙ องค์ ตอกเลขเรียงลำดับ

    ๓. หนุมานแผลงฤทธิ์ สร้างขึ้น ๒ เนื้อเท่านั้น คือ

    · เนื้อเงิน สร้างจำนวน ๒๙๙ องค์

    · เนื้อนวโลหะ สร้างจำนวน ๙๙๙ องค์
 
ความคิดเห็นของผู้เข้าชม
ชื่อผู้แสดงความคิดเห็น :
สถานะ : รหัสผ่าน :
ลิงค์ที่เกี่ยวข้อง :
รหัสความปลอดภัย :
 


ศูนย์รวมพระเครื่อง และ ความรู้พระเครื่อง
อันดับหนึ่งของภาคเหนือตอนล่างภาคกลางตอนบน