สินค้า
บทความ
ประวัติคณาจารย์
ประวัติหลวงพ่อกวย วัดโฆษิตาราม
ประวัติหลวงพ่อแพ วัดพิกุลทอง
ประวัติพระพุฒาจารย์ เอนกสถาน ปรีชาฯ (ท่านเจ้ามา)
หลวงพ่อจันทร์ โฆสโก วัดหาดสองแคว
หลวงพ่อกล่อม พรมสโร วัดป่ากะพี้
หลวงพ่อไซร้ ติสสฺโร วัดช่องลม
หลวงปู่เขียน วัดสำนักขุนเณร
หลวงพ่อสว่าง วัดท่าพุทรา
หลวงปู่ทิม วัดระหารไร่
หลวงปู่ศุข วัดปากคลองมะขามเฒ่า
หลวงพ่อเงิน วัดบางคลาน
หลวงพ่อเดิม วัดหนองโพธิ์
หลวงพ่อทบ วัดชนแดน
หลวงปู่ทองดำ วัดท่าทอง
หลวงปู่พิมพา วัดหนองตางู
ประวัติพระกรุ
พระผงสุพรรณ จ.สุพรรณบุรี
พระรอด กรุมหาวัน
พระซุ้มกอ (พระกำแพงซุ้มกอ) จ.กำแพงเพชร
พระหลวงพ่อเงินกรุวัดขวาง
พระนางพญาพิษณุโลก
พระนางพญากรุเจดีย์กลางน้ำ
ประวัติพระเครื่อง/เครื่องราง/มีดหมอ
ประวัติพระสมเด็จวัดเกศไชโย
ประวัติพระสมเด็จวัดบางขุนพรหม
พระชัยวัฒน์ท่านเจ้ามา
พระสมเด็จวัดะฆัง
ประวัติการสร้างเหรียญพระยาพิชัยดาบหัก รุ่นแรก ปีพ.ศ.2513
ขั้นตอนการสร้างตะกรุด หลวงพ่อทบ
การสร้างตะกรุดลูกปืน
ประวัติการลงสูตรลบผงหลวงพ่อทบ
ประวัติตะกรุดหลวงพ่อทบ วัดชนแดน
ประวัติมีดหมอหลวงพ่อเดิม
รู้ทันพระแท้
พระสมเด็จวัดเกศไชโยพิมพ์เจ็ดชั้นอกตลอด
'พระสมเด็จวัดเกศไชโยพิมพ์ ๖ ชั้นอกตัน
พระสมเด็จเกศไชโยพิมพ์ ๗ ชั้น
พระสมเด็จอรหังพิมพ์เล็กมีประภามณฑล
พระสมเด็จอรหังพิมพ์ฐานคู่
'พระสมเด็จอรหังพิมพ์ใหญ่ ฐานสามชั้น
'พระสมเด็จวัดบางขุนพรหม พิมพ์ใหญ่พระอุระเล็ก (อกเล็ก)
'พระสมเด็จวัดบางขุนพรหมพิมพ์ใหญ่ พระกรโค้ง' (แขนโค้ง)
พระสมเด็จวัดบางขุนพรหมพิมพ์ใหญ่
พระสมเด็จวัดบางขุนพรหม พิมพ์อกครุฑเล็ก
พระสมเด็จวัดบางขุนพรหม พิมพ์อกครุฑ
'พระสมเด็จวัดบางขุนพรหม พิมพ์สังฆาฏิไม่มีพระกรรณ
'พระสมเด็จวัดบางขุนพรหมพิมพ์สังฆาฏิ
'พระสมเด็จวัดบางขุนพรหมพิมพ์ฐานแซมพระอุระร่อง
'พระสมเด็จวัดบางขุนพรหมพิมพ์ฐานแซม
พระสมเด็จวัดบางขุนพรหมพิมพ์เส้นด้ายฐานแคบ
พระสมเด็จพิมพ์เส้นด้ายอกวี
พระสมเด็จวัดบางขุนพรหม พิมพ์เส้นด้ายแขนกลม
พระสมเด็จวัดบางขุนพรหมพิมพ์เส้นด้าย
พระสมเด็จบางขุนพรหม พิมพ์ใหญ่พระพักตร์เล็ก
พระรอดพิมพ์ต้อวัดมหาวัน
พระรอดพิมพ์กลางวัดมหาวัน
พระรอดพิมพ์เครื่องราชฯพิมพ์ที่ 2
พระรอดพิมพ์เครื่องราชพิมพ์ที่ 1
ตำหนิ พระซุ้มกอ(พิมพ์ใหญ่มีกนก) จ.กำแพงเพชร
พระนางพญาพิมพ์เข่าโค้ง
ชั่วโมงเซียน - เหรียญจบที่...ขอบ
การดูพื้นเหนรยญพระปั้ม
หลักการดูพระทั่วๆไป
การดูมีดหลวงพ่อเดิม
บทความทั่วไป
พระรอดพิมพ์ตื้นวัดมหาวัน
เรื่องใกล้ตัวแมลงกินพระเนื้อว่าน
เล่นพระยังไง ให้เป็นซะที
ประมูลพระเครื่อง
ปฎิทิน
April 2025
Sun Mon Tue Wed Thu Fri Sat
  
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
   
สถิติ
เปิดเมื่อ5/10/2011
อัพเดท27/02/2013
ผู้เข้าชม862787
แสดงหน้า1054033




พระสมเด็จวัดบางขุนพรหมพิมพ์ใหญ่

อ่าน 1220 | ตอบ 0
สำหรับ “พระสมเด็จวัดบางขุนพรหมพิมพ์ใหญ่” เท่าที่ผู้เขียนได้ทำการศึกษาจากพระ “กรุเก่า” และ “กรุใหม่” ก็พอจะแยกออกได้ถึง ๙ แม่พิมพ์ ด้วยกันคือ ๑.พิมพ์ พระกรตรงเกศตรง (แขนตรงเกศตรง) ๒.พระกรตรงเกศเอียง (แขนตรงเกศเอียง) ๓.พระกรโค้ง (แขนโค้ง) ๔.พระกร กว้าง (แขนกว้าง) ๕.พระอุระเล็ก (อกเล็ก) ๖.พระอุระตัววี (อกตัววี) ๗.พระพักตร์เล็ก (หน้าเล็ก) ๘.พิมพ์ลึก ๙.พิมพ์ตื้น
    
ส่วนพิมพ์ใดราคาค่านิยม “สูง กว่า” ขอเรียนว่า “เท่าเทียมกัน” อยู่ที่สภาพขององค์พระ หาก    “สมบูรณ์มาก” ค่านิยมก็จะสูงไปตาม “สภาพองค์พระ” ดังนั้นการชี้จุดสังเกตวันนี้จึงขอนำ “พิมพ์ใหญ่เกศตรง” มาชี้จุดเพื่อเป็นหลักต่อการสังเกตเนื่องจาก “พระพุทธลักษณะ” โดยรวมของ “พระสมเด็จวัดบางขุนพรหมพิมพ์ใหญ่” ส่วนมากจะคล้ายกันซึ่งองค์ที่นำมาชี้จุดสังเกตนี้เป็น “พระกรุเก่า” ที่จัดได้ว่าสภาพ “สมบูรณ์ที่สุด” องค์หนึ่งปัจจุบันอยู่ในความครอบครองของนักสะสมไฮโซ “ปรีดา อภิปุญญา” ที่มีวาสนาได้ครอบครองพระตระกูลนี้หลายองค์หลายพิมพ์

    
๑. “เส้นขอบองค์พระ” ทั้งสี่ด้าน ซ้าย-ขวา-บน-ล่าง เฉพาะองค์ที่พิมพ์ติดชัดและไม่ผ่านการจับต้องมาก จะสังเกตเห็นเป็นเส้นนูนเรียวเล็กเช่นกันกับ “พระสมเด็จวัดระฆัง” เนื่องจากการสร้าง “แม่พิมพ์” นายช่างนำ    “พระสมเด็จวัดระฆัง” มาเป็น “แม่แบบ”
    
๒. “เส้นซุ้ม” ลักษณะก็เป็นแบบ “หวายผ่าซีก” ที่กลมใหญ่โดยเส้นโค้ง ด้านขวาองค์พระ จะมีความชันกว่า ด้านซ้ายส่วน “พระเกศ” (ผม) จะเป็น “เส้นตรง” และปลายเรียวจรดเส้นซุ้มอันเป็นที่มาของชื่อ “พิมพ์ใหญ่แขนตรงเกศตรง” ส่วน “พิมพ์ใหญ่แขนตรงเกศเอียง” ให้สังเกต “พระเกศ” จะเอียงไปทางด้านขวาเล็กน้อย
    
๓. “พระพักตร์ (หน้า) ลักษณะคล้ายผลมะตูมและในองค์ที่พิมพ์ติดชัดจะสังเกตเห็น “พระกรรณ” (หู) ที่ด้านซ้ายส่วน “พระกัจจะ” (รักแร้) ด้านซ้ายจะสูงกว่าด้านขวาเล็กน้อยและ “พระกร” (แขน) ทั้งสองข้างทิ้งดิ่งลงมาประสานกันเป็นรูป   “ตัวยู” โดยพระกรซ้ายจะเป็น   “เส้นตรง” ส่วนพระกรขวา “กางออก” เล็กน้อยจึงเป็นอีกที่มาของการเรียกชื่อ    “พิมพ์ใหญ่แขนตรงเกศตรง”  
    
๔. “พระอุระ” (อก) กว้างนูนเด่นรับกับ “พระอุทร” (ท้อง) ที่เรียวเล็กลงได้อย่างสวยงามทำให้มีลักษณะคล้ายกับ “ตัววี” ที่ทอดลงไปจรดกับวงพระกรที่เป็นรูป “ตัวยู”  
    
๕. “พระเพลา” (ตัก) นูนหนาใหญ่ยาวประทับนั่งสมาธิราบและปรากฏ “เส้นชายจีวร” ที่พาดจาก “พระกัปปะระซ้าย” (ศอกซ้าย) ทอดลงไปยังพระเพลาซ้ายอันเป็นที่มาของชื่อ “พิมพ์ใหญ่” เช่นกันกับ “พระสมเด็จวัดระฆัง”
    
๖. ฐานที่มี ๓ ชั้น ยาวกว่าพระเพลาเล็กน้อยโดย “ฐานชั้นแรก” ลักษณะเป็นแท่งหนาใหญ่และยาวกว่าฐานชั้นอื่น ๆ “ฐานชั้นที่สอง” จะเล็กลงและสั้นกว่าฐานชั้นแรก โดยปลายทั้งสองข้างมีลักษณะเป็นฐานสิงห์ส่วน “ฐานชั้นที่สาม” ก็จะเล็กและสั้นกว่าฐานชั้นที่สอง ลักษณะเป็นเส้นตรงที่ยาวขนานกันกับพระเพลา
ความคิดเห็นของผู้เข้าชม
ชื่อผู้แสดงความคิดเห็น :
สถานะ : รหัสผ่าน :
ลิงค์ที่เกี่ยวข้อง :
รหัสความปลอดภัย :
 


ศูนย์รวมพระเครื่อง และ ความรู้พระเครื่อง
อันดับหนึ่งของภาคเหนือตอนล่างภาคกลางตอนบน