สินค้า
บทความ
ประวัติคณาจารย์
ประวัติหลวงพ่อกวย วัดโฆษิตาราม
ประวัติหลวงพ่อแพ วัดพิกุลทอง
ประวัติพระพุฒาจารย์ เอนกสถาน ปรีชาฯ (ท่านเจ้ามา)
หลวงพ่อจันทร์ โฆสโก วัดหาดสองแคว
หลวงพ่อกล่อม พรมสโร วัดป่ากะพี้
หลวงพ่อไซร้ ติสสฺโร วัดช่องลม
หลวงปู่เขียน วัดสำนักขุนเณร
หลวงพ่อสว่าง วัดท่าพุทรา
หลวงปู่ทิม วัดระหารไร่
หลวงปู่ศุข วัดปากคลองมะขามเฒ่า
หลวงพ่อเงิน วัดบางคลาน
หลวงพ่อเดิม วัดหนองโพธิ์
หลวงพ่อทบ วัดชนแดน
หลวงปู่ทองดำ วัดท่าทอง
หลวงปู่พิมพา วัดหนองตางู
ประวัติพระกรุ
พระผงสุพรรณ จ.สุพรรณบุรี
พระรอด กรุมหาวัน
พระซุ้มกอ (พระกำแพงซุ้มกอ) จ.กำแพงเพชร
พระหลวงพ่อเงินกรุวัดขวาง
พระนางพญาพิษณุโลก
พระนางพญากรุเจดีย์กลางน้ำ
ประวัติพระเครื่อง/เครื่องราง/มีดหมอ
ประวัติพระสมเด็จวัดเกศไชโย
ประวัติพระสมเด็จวัดบางขุนพรหม
พระชัยวัฒน์ท่านเจ้ามา
พระสมเด็จวัดะฆัง
ประวัติการสร้างเหรียญพระยาพิชัยดาบหัก รุ่นแรก ปีพ.ศ.2513
ขั้นตอนการสร้างตะกรุด หลวงพ่อทบ
การสร้างตะกรุดลูกปืน
ประวัติการลงสูตรลบผงหลวงพ่อทบ
ประวัติตะกรุดหลวงพ่อทบ วัดชนแดน
ประวัติมีดหมอหลวงพ่อเดิม
รู้ทันพระแท้
พระสมเด็จวัดเกศไชโยพิมพ์เจ็ดชั้นอกตลอด
'พระสมเด็จวัดเกศไชโยพิมพ์ ๖ ชั้นอกตัน
พระสมเด็จเกศไชโยพิมพ์ ๗ ชั้น
พระสมเด็จอรหังพิมพ์เล็กมีประภามณฑล
พระสมเด็จอรหังพิมพ์ฐานคู่
'พระสมเด็จอรหังพิมพ์ใหญ่ ฐานสามชั้น
'พระสมเด็จวัดบางขุนพรหม พิมพ์ใหญ่พระอุระเล็ก (อกเล็ก)
'พระสมเด็จวัดบางขุนพรหมพิมพ์ใหญ่ พระกรโค้ง' (แขนโค้ง)
พระสมเด็จวัดบางขุนพรหมพิมพ์ใหญ่
พระสมเด็จวัดบางขุนพรหม พิมพ์อกครุฑเล็ก
พระสมเด็จวัดบางขุนพรหม พิมพ์อกครุฑ
'พระสมเด็จวัดบางขุนพรหม พิมพ์สังฆาฏิไม่มีพระกรรณ
'พระสมเด็จวัดบางขุนพรหมพิมพ์สังฆาฏิ
'พระสมเด็จวัดบางขุนพรหมพิมพ์ฐานแซมพระอุระร่อง
'พระสมเด็จวัดบางขุนพรหมพิมพ์ฐานแซม
พระสมเด็จวัดบางขุนพรหมพิมพ์เส้นด้ายฐานแคบ
พระสมเด็จพิมพ์เส้นด้ายอกวี
พระสมเด็จวัดบางขุนพรหม พิมพ์เส้นด้ายแขนกลม
พระสมเด็จวัดบางขุนพรหมพิมพ์เส้นด้าย
พระสมเด็จบางขุนพรหม พิมพ์ใหญ่พระพักตร์เล็ก
พระรอดพิมพ์ต้อวัดมหาวัน
พระรอดพิมพ์กลางวัดมหาวัน
พระรอดพิมพ์เครื่องราชฯพิมพ์ที่ 2
พระรอดพิมพ์เครื่องราชพิมพ์ที่ 1
ตำหนิ พระซุ้มกอ(พิมพ์ใหญ่มีกนก) จ.กำแพงเพชร
พระนางพญาพิมพ์เข่าโค้ง
ชั่วโมงเซียน - เหรียญจบที่...ขอบ
การดูพื้นเหนรยญพระปั้ม
หลักการดูพระทั่วๆไป
การดูมีดหลวงพ่อเดิม
บทความทั่วไป
พระรอดพิมพ์ตื้นวัดมหาวัน
เรื่องใกล้ตัวแมลงกินพระเนื้อว่าน
เล่นพระยังไง ให้เป็นซะที
ประมูลพระเครื่อง
ปฎิทิน
April 2025
Sun Mon Tue Wed Thu Fri Sat
  
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
   
สถิติ
เปิดเมื่อ5/10/2011
อัพเดท27/02/2013
ผู้เข้าชม862765
แสดงหน้า1054011




หลวงพ่อกล่อม พรมสโร วัดป่ากะพี้

อ่าน 3423 | ตอบ 1
หลวงพ่อกล่อม พรมสโร

วัดป่ากะพี้ อำเภอพิชัย จังหวัดอุตรดิตถ
 

ประวัติ

               หลวงพ่อกล่อม เกิดราวปี พ.ศ.2400 ณ หมู่บ้านป่ากะพี้ หมู่ที่ 4 ต.ท่ามะเฟือง อ.พิชัย จ.อุตรดิตถ์ เป็นบุตรของพ่อชื่น

กับคุณแม่ไผ่ คำชื่น มีพี่น้องร่วมบิดามารดาด้วยกัน 1 คน คือหลวงพ่อกล่อม และนายรอด คำชื่น น้องชาย

               ในวัยเด็กครอบครัวฐานะยากจน บิดามารดามักให้ไปเลี้ยงควายเป็นประจำทุกวัน เพราะไม่ได้เรียนหนังสือ

ดังนั้นหลวงพ่อกล่อมจึงได้ชักชวนน้องชาย ชื่อนายรอด พากันหนีออกจากบ้านหวังไปผจญโลกข้างหน้า

                หลังจากหนีออกจากบ้าน หลวงพ่อกล่อมกับน้องชาย ได้ไปพบกับพระธุดงค์ 2 รูป โดยบังเอิญ รูปหนึ่งชื่อว่าพระครุฑ อีกรูปชื่อ

พระเมฆ ซึ่งกำลังเดินทางไปทางใต้โดยล่องแพไปตามลำน้ำน่าน หลวงพ่อกล่อมและน้องชาย จึงได้ขออาศัยลงแพร่วมเดินทางไปด้วย

เดินกันกันไปจนถึงเมืองบางกอก พระธุดงค์ทั้งสองรูปได้พาหลวงพ่อกล่อมกับน้องชายไปฝากไว้วัดอนงคาราม เขตคลองสาน

(ปัจจุบันชื่อว่า วัดอนงคารามวรวิหาร) ในอดีตนั้นมีพระเกจิอาจารย์ชื่อดังอยู่วัดนี้ คือ หลวงพ่อทับ เจ้าตำรับพระปิดตาที่โด่งดังที่สุด

มีลูกศิษย์มากมาย หนึ่งในนั้นก็คือ หลวงพ่อกล่อม นี้เอง

                หลังจากนั้นก็ได้เริ่มบวชเรียนเป็นสามเณร เล่าเรียนหนังสืออยู่ที่วัดอนงคารามวรวิหาร มุ่งมั่นศึกษาพระปริยัติธรรมอย่าง

จริงจัง ศึกษาตำรับตำราอย่างถ่องแท้แล้วนั้น ท่านจึงได้เดินทางกลับมายังบ้านเกิด โดยแรกเริ่มนั้นหลวงพ่อได้มาจำวัดอยู่ที่วัดบึงท่าช้าง

(ปัจจุบันเป็นวัดร้าง) อยู่ในเขตบ้านหัวบึง หมู่ที่ 1 ต.พญาแมน อ.พิชัย จ.อุตรดิตถ์ ขณะที่จำวัดอยู่ที่วัดบึงท่าช้าง ตอนเช้าออกบิณฑบาต

ก็ออกเดินทางไปทางบ้านหัวบึงบ้าง บ้านท่ามะปรางบ้าง บางวันก็ไปบ้านป่ากะพี้บ้างซึ่งแต่ละที่มีระยะทางไกลมาก การเดินทางก็ยาก

ลำบากมีแต่ป่าไม้รกทึบสองข้างทาง และบางวันออกบิณฑบาตมาทางบ้านป่ากะพี้ซึ่งมีระยะทางไกลมากจนไม่สามารถกลับไปฉันอาหาร

เช้าได้ทัน จำเป็นต้องแวะฉันอาหารเช้าที่วัดป่ากะพี้แทนเป็นอย่างนี้แทบทุกวัน จนชาวบ้านป่ากะพี้เห็นท่านเหน็ดเหนื่อยมากต่อการที่

ต้องออกบิณฑบาตเป็นระยะทางไกลๆ จึงพากันเกณฑ์ชาวบ้านช่วยกันทำที่พักให้ใกล้กับต้นจันทร์สามง่ามซึ่งอยู่ใกล้กับหมู่บ้านป่ากะพี้

โดยมีตาไกร(ไม่ทราบนาสกุล) เป็นผู้นำชาวบ้านช่วยกันสร้างที่พักรูปทรงคล้ายกับโรงเก็บยาสูบในสมัยก่อน เมื่อท่านได้มีที่พักแล้ว

ต่อมาจึงไม่ต้องเหน็ดเหนื่อยออกเดินทางบิณฑบาตในระยะทางไกล ๆ อีก จนต่อมาที่พักดังกล่าวได้กลายมาเป็นวัดป่ากะพี้มาจนถึงทุก

วันนี้

              อนึ่งหลวงพ่อกล่อม ได้มรณะภาพลงในอุโบสถของวัดด้วยอาการสงบ ราวประมาณ ปี พ.ศ. 2488 ภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2

 สงบลงได้ไม่นานนัก

วัตถุมงคลของหลวงพ่อกล่อม วัดป่ากะพี้

               หลวงพ่อกล่อมได้สร้าง พระภควัมบดีหรือพระปิดตา จากข้อมูลพบว่าหลวงพ่อกล่อมท่านแกะพิมพ์พระด้วยตนเอง

วัสดุที่นำมาทำเป็นแม่พิมพ์ก็คือ หินฝนมีดมีลักษณะเป็นแท่งสี่เหลี่ยมผืนผ้า และอีกแม่พิมพ์นึงแกะจากไม้เป็นแผงรูปห้าเหลี่ยมหน้าจั่ว

ในแผงมีพระปิดตาพิมพ์เดียวกัน จำนวน 25 องค์ ในอดีตทางวัดได้เก็บรักษาไว้แต่ต่อมามีผู้ไม่ประสงค์ดีนำแม่พิมพ์ไป(สันนิษฐานว่า

หายไปจากวัดเมื่อประมาณปี พ.ศ. 2512)

มวลสารที่นำมาสร้างพระปิดตา

              ได้แก่ ครั่งพุทรา ซึ่งมีชาวบ้านเก็บมาให้ท่าน นำมาตำผสมผง ต่อมานายโพธิ์ชาวบ้านหัวบึงซึ่งอยู่หมู่บ้านติดบ้านป่ากะพี้

เป็นผู้หนึ่งที่ใกล้ชิดกับหลวงพ่อและมีภรรยาเป็นชาวลำปาง ได้จัดหารักจากจังหวัดลำปางส่งมาให้หลวงพ่อทำพระปิดตาแทนครั่งพุทรา

โดยนำมาประกอบกับส่วนผสมพุทธคุณที่หลวงพ่อทำขึ้น โดยใช้ดินสอพองเขียนสูตรมนต์คาถาลงบนกระดานชนวน ท่องมนต์คาถาแล้ว

ลบเอาผงดินสอพองเก็บไว้ ทำเป็นประจำจนได้ผงพอสมควรแล้ว จึงนำมวลสารต่าง ๆ ตามตำรามาผสมรวมกัน

การกดพิมพ์

                หลวงพ่อท่านจะกดพิมพ์เฉพาะวันพระเท่านั้น โดยกดทีละองค์จนหมดผงที่ผสมไว้ จากนั้นนำไปผึ่งให้แห้ง นำมาทำพิธีปลุก

เสกโดยท่านจะใช้วิธีปลุกเสกเดี่ยวในอุโบสถตลอดระยะเวลา 3 เดือน

สีของเนื้อพระ

               พระส่วนใหญ่มีเนื้อสีไม่คงที่ มีทั้งดำสนิท น้ำตาลออกแดง(กะลา) เขียว(ก้านมะลิ) และบางองค์ออกขาว ทั้งนี้สมัยก่อนบ้าน

ป่ากะพี้ทุรกันดารมาก การเดินทางต้องใช้เกวียน ทำให้การส่งรักจากลำปางมีความล่าช้าจึงขาดแคลนในบางช่วงทำให้หลวงพ่อจำเป็น

ต้องใช้น้ำล้างรักที่ผสมเหลือแทนบ้าง บางทีก็ไม่มีทั้งรักทั้งครั่งพุทราก็ต้องใช้ผงล้วน ๆ ทำให้สีของเนื้อพระแตกต่างกัน และจำนวนที่

สร้างไม่อาจระบุจำนวนได้ เนื่องจากท่านสร้างด้วยแรงศรัทธานั่นเอง

พุทธคุณพระปิดตา

               เชื่อว่ามีอานุภาพนานับประการ ทั้งเมตตามหานิยม คงกะพัน แคล้วคลาด มีแต่สิ่งดีๆ เข้ามาในชีวิตของผู้มีจิตศรัทธา

พระปิดตาที่ท่านสร้างนั้นไม่ได้นำออกมาจำหน่ายหรือให้เช่า ผู้ที่จะได้รับต้องไปขอกับท่านเอง และมักมอบให้กับพระภิกษุที่มาลาสิกขา

บท ท่านจะมอบพระปิดตาให้เพียงคนละ 1 องค์เท่านั้น และหลวงพ่อมักจะบอกกับลูกสิทธิ์ทุกคนให้หมั่นรักษาศีล

ความคิดเห็น :
1
อ้างอิง

Sue
 
Sue [68.202.141.xxx] เมื่อ 10/12/2019 00:17
ความคิดเห็นของผู้เข้าชม
ชื่อผู้แสดงความคิดเห็น :
สถานะ : รหัสผ่าน :
ลิงค์ที่เกี่ยวข้อง :
รหัสความปลอดภัย :
 


ศูนย์รวมพระเครื่อง และ ความรู้พระเครื่อง
อันดับหนึ่งของภาคเหนือตอนล่างภาคกลางตอนบน