สินค้า
บทความ
ประวัติคณาจารย์
ประวัติหลวงพ่อกวย วัดโฆษิตาราม
ประวัติหลวงพ่อแพ วัดพิกุลทอง
ประวัติพระพุฒาจารย์ เอนกสถาน ปรีชาฯ (ท่านเจ้ามา)
หลวงพ่อจันทร์ โฆสโก วัดหาดสองแคว
หลวงพ่อกล่อม พรมสโร วัดป่ากะพี้
หลวงพ่อไซร้ ติสสฺโร วัดช่องลม
หลวงปู่เขียน วัดสำนักขุนเณร
หลวงพ่อสว่าง วัดท่าพุทรา
หลวงปู่ทิม วัดระหารไร่
หลวงปู่ศุข วัดปากคลองมะขามเฒ่า
หลวงพ่อเงิน วัดบางคลาน
หลวงพ่อเดิม วัดหนองโพธิ์
หลวงพ่อทบ วัดชนแดน
หลวงปู่ทองดำ วัดท่าทอง
หลวงปู่พิมพา วัดหนองตางู
ประวัติพระกรุ
พระผงสุพรรณ จ.สุพรรณบุรี
พระรอด กรุมหาวัน
พระซุ้มกอ (พระกำแพงซุ้มกอ) จ.กำแพงเพชร
พระหลวงพ่อเงินกรุวัดขวาง
พระนางพญาพิษณุโลก
พระนางพญากรุเจดีย์กลางน้ำ
ประวัติพระเครื่อง/เครื่องราง/มีดหมอ
ประวัติพระสมเด็จวัดเกศไชโย
ประวัติพระสมเด็จวัดบางขุนพรหม
พระชัยวัฒน์ท่านเจ้ามา
พระสมเด็จวัดะฆัง
ประวัติการสร้างเหรียญพระยาพิชัยดาบหัก รุ่นแรก ปีพ.ศ.2513
ขั้นตอนการสร้างตะกรุด หลวงพ่อทบ
การสร้างตะกรุดลูกปืน
ประวัติการลงสูตรลบผงหลวงพ่อทบ
ประวัติตะกรุดหลวงพ่อทบ วัดชนแดน
ประวัติมีดหมอหลวงพ่อเดิม
รู้ทันพระแท้
พระสมเด็จวัดเกศไชโยพิมพ์เจ็ดชั้นอกตลอด
'พระสมเด็จวัดเกศไชโยพิมพ์ ๖ ชั้นอกตัน
พระสมเด็จเกศไชโยพิมพ์ ๗ ชั้น
พระสมเด็จอรหังพิมพ์เล็กมีประภามณฑล
พระสมเด็จอรหังพิมพ์ฐานคู่
'พระสมเด็จอรหังพิมพ์ใหญ่ ฐานสามชั้น
'พระสมเด็จวัดบางขุนพรหม พิมพ์ใหญ่พระอุระเล็ก (อกเล็ก)
'พระสมเด็จวัดบางขุนพรหมพิมพ์ใหญ่ พระกรโค้ง' (แขนโค้ง)
พระสมเด็จวัดบางขุนพรหมพิมพ์ใหญ่
พระสมเด็จวัดบางขุนพรหม พิมพ์อกครุฑเล็ก
พระสมเด็จวัดบางขุนพรหม พิมพ์อกครุฑ
'พระสมเด็จวัดบางขุนพรหม พิมพ์สังฆาฏิไม่มีพระกรรณ
'พระสมเด็จวัดบางขุนพรหมพิมพ์สังฆาฏิ
'พระสมเด็จวัดบางขุนพรหมพิมพ์ฐานแซมพระอุระร่อง
'พระสมเด็จวัดบางขุนพรหมพิมพ์ฐานแซม
พระสมเด็จวัดบางขุนพรหมพิมพ์เส้นด้ายฐานแคบ
พระสมเด็จพิมพ์เส้นด้ายอกวี
พระสมเด็จวัดบางขุนพรหม พิมพ์เส้นด้ายแขนกลม
พระสมเด็จวัดบางขุนพรหมพิมพ์เส้นด้าย
พระสมเด็จบางขุนพรหม พิมพ์ใหญ่พระพักตร์เล็ก
พระรอดพิมพ์ต้อวัดมหาวัน
พระรอดพิมพ์กลางวัดมหาวัน
พระรอดพิมพ์เครื่องราชฯพิมพ์ที่ 2
พระรอดพิมพ์เครื่องราชพิมพ์ที่ 1
ตำหนิ พระซุ้มกอ(พิมพ์ใหญ่มีกนก) จ.กำแพงเพชร
พระนางพญาพิมพ์เข่าโค้ง
ชั่วโมงเซียน - เหรียญจบที่...ขอบ
การดูพื้นเหนรยญพระปั้ม
หลักการดูพระทั่วๆไป
การดูมีดหลวงพ่อเดิม
บทความทั่วไป
พระรอดพิมพ์ตื้นวัดมหาวัน
เรื่องใกล้ตัวแมลงกินพระเนื้อว่าน
เล่นพระยังไง ให้เป็นซะที
ประมูลพระเครื่อง
ปฎิทิน
May 2025
Sun Mon Tue Wed Thu Fri Sat
    
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
สถิติ
เปิดเมื่อ5/10/2011
อัพเดท27/02/2013
ผู้เข้าชม863547
แสดงหน้า1055061




หลวงปู่เขียน วัดสำนักขุนเณร

อ่าน 2804 | ตอบ 0
หลวงพ่อเขียนเดิมชื่อ เสถียร เกิดเมื่อวันเสาร์เดือน 4 ปีขาล พ.ศ.2399 ที่บ้านตลิ่งชัน ตำบลชอนไพร อำเภอเมือง จังหวัดเพชรบูรณ์ เป็นบุตรของนายทอง กับนางปลิด มีพี่น้องร่วมท้อง5 คน ท่านเป็นคนที่3 อายุได้12 ปี ท่านได้เข้าบรรพชา เมื่อปี พ.ศ.2411 ที่วัดทุ่งเรไร ในขณะที่เป็นสามเณร ได้ศึกษาอักขระและอักษรขอมจนอ่านออกเขียนได้ในเวลาอันรวดเร็จกรอปกับท่านเป็นคนขยันมั่นขีดเขียน จนเจ้าอาวาสวัดทุ่งเรไรเปลี่ยนชื่อของท่านจาก เสถียร...เป็นเขียน...ตั้งแต่นั้นมาต่อมาเมื่อใกล้เวลาอุปสมบทท่านได้ลาสิกขาออกมาเป็นฆาราวาสอยู่ระยะหนึ่ง จนอายุครับ20 ปีพ.ศ.2420 ท่านจึงได้เข้าอุปสมบทที่วัดภูเขาดิน จังหวัดเพชรบูรณ์ โดยมีพระอาจารย์ประดิษฐ์ เป็นพระอุปัชฌาย์ และพระอาจารย์สอนกับพระอาจารย์ทองมี เป็นพระกรรมวาจาจารย์
เมื่อท่านบวชเป็นพระได้ไม่นานโยมมารดาของท่านลบเร้าให้ท่านสึกเพื่อจะได้แต่งงานกับหญิงที่ได้จัดหาไว้ให้ แต่ท่านปฏิเสธ เพื่อตัดปัญหาท่านได้เดินทางมาที่บ้านวังตะกู อำเภอบางบุญนาค จังหวัดพิจิตร ในปีนั้นทางวัดวังตะกูขาดพระจำพรรษา ทางกำนันตำบลวังตะกูและชาวบ้านได้นิมนต์ท่านให้จำพรรษาที่วัดนี้ ต่อมาท่านได้เริ่มศึกษา ปริยัติธรรมที่วัดเสาร์ธงทอง จังหวัดลพบุรีมีพระอาจารย์ทองป็นผู้สอนท่านอยู่ที่วัดนี้นาน9 ปี และหลวงพ่อเขียนได้เข้ามาศึกษาต่อที่วัดรังษี กรุงเทพมหานครมีท่านเจ้าคุณธรรมกิตติเป็นเจ้าอาวาสในสมัยนั้นต่อมาทางวัดรังษีจะโอนเป็นธรรมยุตนิกายแต่ท่านไม่ยอมจึงได้กลับมาที่วัดเสาธงทองอีกครั้ง ท่านกลับมาจำพรรษาที่วัดเสาธงทองได้9 พรรษา กำนันตำบลวังตะกูและชาวบ้านได้มานิมนต์หลวงพ่อให้มาจำพรรษาที่วัดวังตะกูหลวงพ่อเขียนท่านรับนิมนต์และได้มาจำพรรษาที่วัดวังตะกูอีกวาระหนึ่งตั้งแต่นั้นมา
หลวงพ่อเขียนได้อยู่ที่วัดวังตะกูจนกระทั้งถึงปี พ.ศ.2491 กำนันเถาว์ ทิพย์ประเสริฐ์ บ้านสำนักขุนเณร ตอนนั้นท่านยังเป็นกำนันตำบลวังงิ้วพร้อมด้วยญาติโยมได้มานิมนต์ท่านให้ไปจำพรรษาที่วัดสำนักขุนเณรซึ่งอยู่ห่างกันกับวัดวังตะกูเพียง5 กม.เท่านั้น หลวงพ่อท่านเดินทางไปมาระหว่าง2 วัดนี้มิได้ขาดจนปี พ.ศ.2493 หลวงพ่อเขียนจึงตัดสินใจจำพรรษาที่วัดสำนักขุนเณรตั้งแต่นั้นมา จวบจนปี พ.ศ.2507 หลวงพ่อเขียนท่านได้มรณภาพด้วยอาการอันสงบ เมื่อคืนวันที่ 21 ธันวาคม พ.ศ.2507 เวลา 23.50น. รวมสิริอายุได้ 108 ปี
ความคิดเห็นของผู้เข้าชม
Rich Text Editor
ชื่อผู้แสดงความคิดเห็น :
สถานะ : รหัสผ่าน :
ลิงค์ที่เกี่ยวข้อง :
รหัสความปลอดภัย :
 


ศูนย์รวมพระเครื่อง และ ความรู้พระเครื่อง
อันดับหนึ่งของภาคเหนือตอนล่างภาคกลางตอนบน