สินค้า
บทความ
ประวัติคณาจารย์
ประวัติหลวงพ่อกวย วัดโฆษิตาราม
ประวัติหลวงพ่อแพ วัดพิกุลทอง
ประวัติพระพุฒาจารย์ เอนกสถาน ปรีชาฯ (ท่านเจ้ามา)
หลวงพ่อจันทร์ โฆสโก วัดหาดสองแคว
หลวงพ่อกล่อม พรมสโร วัดป่ากะพี้
หลวงพ่อไซร้ ติสสฺโร วัดช่องลม
หลวงปู่เขียน วัดสำนักขุนเณร
หลวงพ่อสว่าง วัดท่าพุทรา
หลวงปู่ทิม วัดระหารไร่
หลวงปู่ศุข วัดปากคลองมะขามเฒ่า
หลวงพ่อเงิน วัดบางคลาน
หลวงพ่อเดิม วัดหนองโพธิ์
หลวงพ่อทบ วัดชนแดน
หลวงปู่ทองดำ วัดท่าทอง
หลวงปู่พิมพา วัดหนองตางู
ประวัติพระกรุ
พระผงสุพรรณ จ.สุพรรณบุรี
พระรอด กรุมหาวัน
พระซุ้มกอ (พระกำแพงซุ้มกอ) จ.กำแพงเพชร
พระหลวงพ่อเงินกรุวัดขวาง
พระนางพญาพิษณุโลก
พระนางพญากรุเจดีย์กลางน้ำ
ประวัติพระเครื่อง/เครื่องราง/มีดหมอ
ประวัติพระสมเด็จวัดเกศไชโย
ประวัติพระสมเด็จวัดบางขุนพรหม
พระชัยวัฒน์ท่านเจ้ามา
พระสมเด็จวัดะฆัง
ประวัติการสร้างเหรียญพระยาพิชัยดาบหัก รุ่นแรก ปีพ.ศ.2513
ขั้นตอนการสร้างตะกรุด หลวงพ่อทบ
การสร้างตะกรุดลูกปืน
ประวัติการลงสูตรลบผงหลวงพ่อทบ
ประวัติตะกรุดหลวงพ่อทบ วัดชนแดน
ประวัติมีดหมอหลวงพ่อเดิม
รู้ทันพระแท้
พระสมเด็จวัดเกศไชโยพิมพ์เจ็ดชั้นอกตลอด
'พระสมเด็จวัดเกศไชโยพิมพ์ ๖ ชั้นอกตัน
พระสมเด็จเกศไชโยพิมพ์ ๗ ชั้น
พระสมเด็จอรหังพิมพ์เล็กมีประภามณฑล
พระสมเด็จอรหังพิมพ์ฐานคู่
'พระสมเด็จอรหังพิมพ์ใหญ่ ฐานสามชั้น
'พระสมเด็จวัดบางขุนพรหม พิมพ์ใหญ่พระอุระเล็ก (อกเล็ก)
'พระสมเด็จวัดบางขุนพรหมพิมพ์ใหญ่ พระกรโค้ง' (แขนโค้ง)
พระสมเด็จวัดบางขุนพรหมพิมพ์ใหญ่
พระสมเด็จวัดบางขุนพรหม พิมพ์อกครุฑเล็ก
พระสมเด็จวัดบางขุนพรหม พิมพ์อกครุฑ
'พระสมเด็จวัดบางขุนพรหม พิมพ์สังฆาฏิไม่มีพระกรรณ
'พระสมเด็จวัดบางขุนพรหมพิมพ์สังฆาฏิ
'พระสมเด็จวัดบางขุนพรหมพิมพ์ฐานแซมพระอุระร่อง
'พระสมเด็จวัดบางขุนพรหมพิมพ์ฐานแซม
พระสมเด็จวัดบางขุนพรหมพิมพ์เส้นด้ายฐานแคบ
พระสมเด็จพิมพ์เส้นด้ายอกวี
พระสมเด็จวัดบางขุนพรหม พิมพ์เส้นด้ายแขนกลม
พระสมเด็จวัดบางขุนพรหมพิมพ์เส้นด้าย
พระสมเด็จบางขุนพรหม พิมพ์ใหญ่พระพักตร์เล็ก
พระรอดพิมพ์ต้อวัดมหาวัน
พระรอดพิมพ์กลางวัดมหาวัน
พระรอดพิมพ์เครื่องราชฯพิมพ์ที่ 2
พระรอดพิมพ์เครื่องราชพิมพ์ที่ 1
ตำหนิ พระซุ้มกอ(พิมพ์ใหญ่มีกนก) จ.กำแพงเพชร
พระนางพญาพิมพ์เข่าโค้ง
ชั่วโมงเซียน - เหรียญจบที่...ขอบ
การดูพื้นเหนรยญพระปั้ม
หลักการดูพระทั่วๆไป
การดูมีดหลวงพ่อเดิม
บทความทั่วไป
พระรอดพิมพ์ตื้นวัดมหาวัน
เรื่องใกล้ตัวแมลงกินพระเนื้อว่าน
เล่นพระยังไง ให้เป็นซะที
ประมูลพระเครื่อง
ปฎิทิน
April 2024
Sun Mon Tue Wed Thu Fri Sat
 
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
    
สถิติ
เปิดเมื่อ5/10/2011
อัพเดท27/02/2013
ผู้เข้าชม855188
แสดงหน้า1045804




พระสมเด็จวัดบางขุนพรหมพิมพ์เส้นด้าย

อ่าน 1450 | ตอบ 0
การชี้จุดสังเกต “พระสมเด็จวัดบางขุนพรหมพิมพ์ใหญ่” ที่มีทั้งหมด “๗ แม่พิมพ์” ก็ผ่านไปแล้ว ผู้เขียนจึงขอนำ “พระสมเด็จวัดบางขุนพรหมพิมพ์เส้นด้าย” ที่ผู้รู้ได้ระบุไว้ว่ามีทั้งหมด “๗ แม่พิมพ์” เช่นกันมาเสนอต่อเพื่อท่านผู้อ่าน “อ่านความจริง...อ่านเดลินิวส์” จะได้แยกแยะถูกต้องพร้อม มีความถ่องแท้ ในการสะสม เนื่องจากพระพิมพ์ที่มีรูปทรง “สี่เหลี่ยมผืนผ้า” หรือ “ชิ้นฟัก” ตระกูล “พระสมเด็จ” และรังสรรค์โดยสุดยอดเกจิอาจารย์แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ที่มีนามว่า “สมเด็จพระพุฒาจารย์โต พรหมรังสี” นี้มีคุณค่าและ ราคาสูงยิ่งอีกทั้งแต่ละพิมพ์ก็มี “หลายแม่พิมพ์” จึงควรศึกษาให้กระจ่างจะได้มีกำไรต่อการสะสม
   
ดังนั้นวันนี้จึงขอนำ “พระสมเด็จวัดบางขุนพรหมพิมพ์เส้นด้าย” ที่แม้จะเป็นพิมพ์ที่มีความนิยมรองลงมาจาก “พิมพ์ใหญ่” แต่หากเป็นองค์ที่ “สวยสมบูรณ์” โดยไม่หักไม่ซ่อมและไม่อุดแล้วคุณค่าราคา ก็แทบจะไม่แพ้พิมพ์ใหญ่เลยเพราะต้องใช้เงินเป็น “ล้าน ๆ บาท” เช่นกันจึงมีสิทธิได้ครอบครอง โดยวันนี้ขอนำพิมพ์ที่เรียกว่า “พิมพ์แขนบ่วง” มาชี้จุดสังเกตก่อนพิมพ์อื่น ๆ เพราะเป็นพิมพ์ที่มีเอกลักษณ์“เฉพาะตัว” ซึ่งก็คือการสร้างสรรค์แม่พิมพ์ของนายช่างทำการแกะแม่พิมพ์ ได้แผ่วบางเบาที่กูรูพระเครื่องบางท่านระบุว่าเป็นการแกะแม่พิมพ์ที่คลาสสิกดีมาก เนื่องจากเส้นสายต่าง ๆ ขององค์พระมีลักษณะเป็นเส้นเรียวบาง ที่มีความสวยงามไปอีกแบบแล้วยังมีพุทธลักษณะที่ไม่เหมือนพิมพ์อื่น ๆ อีกด้วยที่พอจะชี้จุดสังเกตได้ดังนี้
   

๑. ขอบพระทั้งสี่ด้าน มีลักษณะเช่นเดียวกันกับ “พระสมเด็จวัดระฆัง” คือในองค์ที่ติดชัดหรือในองค์ที่ผ่านการสัมผัสไม่มาก จะปรากฏเส้นนูนแผ่ว ๆ ปรากฏทั้งสี่ด้านที่เกิดจากการตัดแม่พิมพ์ แล้วทำให้มีเนื้อปลิ้นออกมานั่นเอง
   
๒. เส้นซุ้มครอบแก้ว ลักษณะคล้ายหวายผ่าซีกแต่จะเรียวเล็กกว่าพิมพ์ใหญ่เล็กน้อย และส่วนโค้งของเส้นซุ้มด้านบนพระเกศจะมีรูปทรงที่ตั้งตรง ส่วน “พระเกศ” จะมีลักษณะเป็นเส้นเรียวบางไปจดเส้นซุ้มโดยเอียงไปทางด้านซ้ายมือองค์พระเล็กน้อยเท่านั้น
   
๓. “พระพักตร์” ก็มีลักษณะคล้ายผลมะตูมเพียง        แต่มีขนาดที่เล็กกว่า  “พิมพ์ใหญ่” และไม่ปรากฏ “พระกรรณ” (หู) หรือ “เส้นพระศอ” (คอ) แต่ก็รับ กับ “พระอุระ” (อก) และ “ลำพระองค์” (ลำตัว) ที่มีลักษณะค่อนข้างกว้างและยาวแบบทรงกระบอก
   
๔. “พระกร” (แขน) ทั้งสองข้างมีลักษณะเป็นเส้นเรียวบางกางออกเล็กน้อยจึงทำให้บริเวณ “พระกัประ” (ศอก) มีการหักมุมเล็กน้อยในลักษณะแขนบ่วงจึงเป็นที่มาของการเรียกว่า “พิมพ์แขนบ่วง”
   
๕. “พระเพลา” (ตัก) มีลักษณะเป็นเส้นเรียวเล็กบางและยาวโดย “พระชานุ” (เข่า) ด้านซ้ายองค์พระมีลักษณะเป็นเนื้อนูนสูงกว่าด้านขวาที่ไม่ปรากฏมีเนื้อนูนใด ๆ
   
๖. “ฐาน ๓ ชั้น” ชั้นบนสุดมีลักษณะเป็นเส้นเรียวเล็กบางยาวกว่าพระเพลาเล็กน้อย ส่วนฐานชั้นกลางก็มีลักษณะเป็นเส้นเรียวเล็กบางยาว โดยที่หัวฐานไม่เป็นฐานสิงห์อย่างพระพิมพ์ใหญ่ และฐานชั้นล่างสุดมีลักษณะคล้ายฐานคู่เพียงแต่ร่องตรงกลางตื้นจนแทบจะเป็นเนื้อเดียวกัน.


'พุทธธัสสะ'
ความคิดเห็นของผู้เข้าชม
ชื่อผู้แสดงความคิดเห็น :
สถานะ : รหัสผ่าน :
ลิงค์ที่เกี่ยวข้อง :
รหัสความปลอดภัย :
 


ศูนย์รวมพระเครื่อง และ ความรู้พระเครื่อง
อันดับหนึ่งของภาคเหนือตอนล่างภาคกลางตอนบน