สร้างเว็บ
[ แจ้งการชำระเงิน ]
[ วิธีการชำระเงิน ]
[ วิธีการส่งสินค้า ]
ตะกร้าสินค้า
คำค้นหา :
ประเภท :
สินค้า
บทความ
ข่าวสาร
แกลอรี่
เว็บบอร์ด
หน้าแรก
สินค้า
เว็บบอร์ด
บทความ
ข่าวสาร
วิธีการชำระเงิน/การรับประกัน/การจัดส่ง
ติดต่อเรา
เมนู
หน้าแรก
สินค้า
เว็บบอร์ด
บทความ
ข่าวสาร
วิธีการชำระเงิน/การรับประกัน/การจัดส่ง
ติดต่อเรา
สินค้า
พระกรุทั่วไป
พระปรกพิจิตร เนื้อชินเขียว
ขุนแผน เนื้อชินเขียว
พระนางพญากรุวัดราชบูรณะพิษณุโลก
พระนางพญา เนื้อชินเขียว
พระร่วงนั่ง ศิลลพบุรี ไม่ทราบกรุ
พระนางพญากรุวัดราชบูรณะ
พระโคนสมอ
พระกรุอยุทธยาหน้าตัก 1 นิ้ว
พระกรุ จ.สุพรรณ
พระนางพญากรุพระธาตุกลางน้ำ
รูปหล่อรูปปั้มพระเกจิอาจารย์ทั่วไป
พระชัยวัฒน์ พระครูสอน มักกะสัน
หลวงพ่อเงิน วัดห้วยเขน พิมพ์ใหญ่ B
หลวงพ่อแพ วัดพิกุลทอง รุ่น 87 ปี
พระพุทธชินราช ปี 2500
หลวงพ่อแช่มวัดตาก้องรุ่น 2
พระสังกัจจายน์หลวงพ่อเงินพิมพ์เศียรโต
หลวงพ่อเงินพิมพ์ขี้ตากรุท้ายน้ำ
หลวงพ่อเงินรุ่นฟ้าคำรณ
พระกริ่งเจ้าคุณนรออกวัดวังกระโจม
พระปิตาพาเฮงหลวงปู่พิมพา วัดหนองตางู
พระพุทธรูปเก่า
พระฤาษี ครูบาแก้ว
หลวงปู่พิมพารุ่นปั้มบารมี
เหรียญพระเกจิอาจารย์ทั่วไป
หลวงปู่ทองดำ วัดท่าทอง อุตรดิตถ์
หลวงปู่พิมพา รุ่นพิเศษ แคล้วคลาปลอดภัย
หลวงปู่พิมพา รุ่นครบ 7 รอบ ปี 2534
หลวงปู่พิมพา รุ่นสงน้ำ ปี 2525
หลวงปู่พิมพา งานผูกพัทธสีมา ปี2529
หลวงปู่ทองดำ วัดท่าทอง อุตรดิตถ์
หลวงปู่พิมพา รุ่นถวายน้ำสง ปี2533
เหรียญเก่าสมัยรัชกาลที่ 5
รูปกรอบกระจกหลวงปู่พิมพา
หลวงพ่อโอด ปี 2528
พระนาคปรคหลวงพ่อเปิ่น
นางกวักหลวงปู่ทองดำ
พระนาคปรกหลวงปู่ทองดำ
เหรียญหลวงปู่ทองดำ รุ่นแรก
เหรียญครูบาสิริ รุ่นแรก หัวกลม
เหรียญหลวงปู่พิมพารุ่นแรก อุใหญ่
เหรียญหลวงปุ่พิมพารุ่นแรก อุเล็ก
เหรียญหลวงปู่แขก วัดสุนทรประดิษฐ์
พระเจ้าอยู่หัว
พระยาพิชัยดาบหัก
พระเนื้อผง
พระปิดตา หลวงปู่เปรื่อง วัดบางจาก นนทบุรี
พระประจำวันพุธกลางคืนอาจาย์ถนอมพิษณุโลก
พระประวันพุธกลางวันพระอาจารย์ถนอม พิษณุโลก
ขุนแผนหลวงพ่อเต๋ รุ่นแรก
พระหลวงปู่บุญ วัดกลางบางแก้ว
หลวงปู่พิมพา รุ่นวาจาสิทธิ์
พระกสินหลวงพ่อพัฒน์ วัดใหม่
สมเด็จหลวงปู่พิมพา
นางกวัก เนื้อผงน้ำมัน (ไม่ทราบที่)
พระสิวลีหลวงพ่อกวย
นางกวักไม่ทราบที่
สมเด็จกรุโบสเก่าหลวงปู่พิมพา
สมเด็จหลังเงาหลวงปู่พิมพา
พระผงหลวงพ่อทองดำ
หลวงปู่บุญวัดน้ำใสจ.อุตรดิตถ์
พระยอดขุลพล หลวงพ่อเอิบ วัดชุมกระต่าย
สมเด็จหลวงปู่ทองดำ วัดท่าทอง
พระปิดตาหลวงพ่อคูณ ปี40
พระบูชา
เครื่องรางและของสะสม
เงินปริงสมัยล้านช้าง
ตะกรุดเก้ากุ่มล้านนา
หลวงปู่แหวน
ตะกรุดหลวงพ่อทบยุคกลาง
มีดหมอหลวงพ่อเดิม ยุคปลาย
ตะกรุดหลวงพ่อทบ ยุคปลาย
ชานหมากหลวงปู่พิมพา
มีดหมอหลวงปู่พิมพา
ประคำกระดูกช้าง หลวงพ่ออุตตมะ
ตะกรุดม้าเสพครูบาบุดดา
ตะกรุดโทนหลวงปู่แขก
รูปในหลวง ร.5 พร้อมแสตมป์(2)
รูปในหลวง ร.5 พร้อมแสตมป์
ตุ๊กตาพ่อมดหมอผีของญี่ปุ่น
ไม้แกะเก่าศิลป์ไทยใหญ่
ตะกรุดมงคลโสฬส หลวงพ่ออ่างวัดใหญ่สว่างอารมณ์
บทความ
ประวัติคณาจารย์
ประวัติหลวงพ่อกวย วัดโฆษิตาราม
ประวัติหลวงพ่อแพ วัดพิกุลทอง
ประวัติพระพุฒาจารย์ เอนกสถาน ปรีชาฯ (ท่านเจ้ามา)
หลวงพ่อจันทร์ โฆสโก วัดหาดสองแคว
หลวงพ่อกล่อม พรมสโร วัดป่ากะพี้
หลวงพ่อไซร้ ติสสฺโร วัดช่องลม
หลวงปู่เขียน วัดสำนักขุนเณร
หลวงพ่อสว่าง วัดท่าพุทรา
หลวงปู่ทิม วัดระหารไร่
หลวงปู่ศุข วัดปากคลองมะขามเฒ่า
หลวงพ่อเงิน วัดบางคลาน
หลวงพ่อเดิม วัดหนองโพธิ์
หลวงพ่อทบ วัดชนแดน
หลวงปู่ทองดำ วัดท่าทอง
หลวงปู่พิมพา วัดหนองตางู
ประวัติพระกรุ
พระผงสุพรรณ จ.สุพรรณบุรี
พระรอด กรุมหาวัน
พระซุ้มกอ (พระกำแพงซุ้มกอ) จ.กำแพงเพชร
พระหลวงพ่อเงินกรุวัดขวาง
พระนางพญาพิษณุโลก
พระนางพญากรุเจดีย์กลางน้ำ
ประวัติพระเครื่อง/เครื่องราง/มีดหมอ
ประวัติพระสมเด็จวัดเกศไชโย
ประวัติพระสมเด็จวัดบางขุนพรหม
พระชัยวัฒน์ท่านเจ้ามา
พระสมเด็จวัดะฆัง
ประวัติการสร้างเหรียญพระยาพิชัยดาบหัก รุ่นแรก ปีพ.ศ.2513
ขั้นตอนการสร้างตะกรุด หลวงพ่อทบ
การสร้างตะกรุดลูกปืน
ประวัติการลงสูตรลบผงหลวงพ่อทบ
ประวัติตะกรุดหลวงพ่อทบ วัดชนแดน
ประวัติมีดหมอหลวงพ่อเดิม
รู้ทันพระแท้
พระสมเด็จวัดเกศไชโยพิมพ์เจ็ดชั้นอกตลอด
'พระสมเด็จวัดเกศไชโยพิมพ์ ๖ ชั้นอกตัน
พระสมเด็จเกศไชโยพิมพ์ ๗ ชั้น
พระสมเด็จอรหังพิมพ์เล็กมีประภามณฑล
พระสมเด็จอรหังพิมพ์ฐานคู่
'พระสมเด็จอรหังพิมพ์ใหญ่ ฐานสามชั้น
'พระสมเด็จวัดบางขุนพรหม พิมพ์ใหญ่พระอุระเล็ก (อกเล็ก)
'พระสมเด็จวัดบางขุนพรหมพิมพ์ใหญ่ พระกรโค้ง' (แขนโค้ง)
พระสมเด็จวัดบางขุนพรหมพิมพ์ใหญ่
พระสมเด็จวัดบางขุนพรหม พิมพ์อกครุฑเล็ก
พระสมเด็จวัดบางขุนพรหม พิมพ์อกครุฑ
'พระสมเด็จวัดบางขุนพรหม พิมพ์สังฆาฏิไม่มีพระกรรณ
'พระสมเด็จวัดบางขุนพรหมพิมพ์สังฆาฏิ
'พระสมเด็จวัดบางขุนพรหมพิมพ์ฐานแซมพระอุระร่อง
'พระสมเด็จวัดบางขุนพรหมพิมพ์ฐานแซม
พระสมเด็จวัดบางขุนพรหมพิมพ์เส้นด้ายฐานแคบ
พระสมเด็จพิมพ์เส้นด้ายอกวี
พระสมเด็จวัดบางขุนพรหม พิมพ์เส้นด้ายแขนกลม
พระสมเด็จวัดบางขุนพรหมพิมพ์เส้นด้าย
พระสมเด็จบางขุนพรหม พิมพ์ใหญ่พระพักตร์เล็ก
พระรอดพิมพ์ต้อวัดมหาวัน
พระรอดพิมพ์กลางวัดมหาวัน
พระรอดพิมพ์เครื่องราชฯพิมพ์ที่ 2
พระรอดพิมพ์เครื่องราชพิมพ์ที่ 1
ตำหนิ พระซุ้มกอ(พิมพ์ใหญ่มีกนก) จ.กำแพงเพชร
พระนางพญาพิมพ์เข่าโค้ง
ชั่วโมงเซียน - เหรียญจบที่...ขอบ
การดูพื้นเหนรยญพระปั้ม
หลักการดูพระทั่วๆไป
การดูมีดหลวงพ่อเดิม
บทความทั่วไป
พระรอดพิมพ์ตื้นวัดมหาวัน
เรื่องใกล้ตัวแมลงกินพระเนื้อว่าน
เล่นพระยังไง ให้เป็นซะที
ประมูลพระเครื่อง
ปฎิทิน
April 2025
Sun
Mon
Tue
Wed
Thu
Fri
Sat
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
สถิติ
เปิดเมื่อ
5/10/2011
อัพเดท
27/02/2013
ผู้เข้าชม
862758
แสดงหน้า
1054002
ประวัติพระพุฒาจารย์ เอนกสถาน ปรีชาฯ (ท่านเจ้ามา)
อ่าน 1027 | ตอบ 1
พระพุฒาจารย์ เอนกสถานปรีชา ฯ (มา) พระราชาคณะผู้ใหญ่ เจ้าคณะอรัญวาสี มีสมณศักดิ์เสมอเจ้าคณะรอง
พระพุฒาจารย์ เดิมชื่อ มา ชื่อ อินทร์สร ในพระพุทธศาสนา เกิดในสกุลอุบาสกใจบุญ โยมผู้ชายชื่อ ทองอยู่ โยมผู้หญิงชื่อ แช่ม พระพุฒาจารย์เกิดเมื่อวันที่ ๑๑ กันยายน พระพุทธศักราช ๒๓๘๐ (รัตนโกสินทร์ศก ๕๖) ตรงกับวันจันทร์ ขึ้น ๑๒ ค่ำ เดือน ๑๐ ปีระกานพศก (จุลศักราช ๑๑๙๙) ณ ตำบลบ้านเขาแหลม อำเภอสำเพ็ง กรุงเทพฯ
ครั้นพระพุทธศักราช ๒๔๐๔ (รัตนโกสินทรศก ๘๐) ตรงกับปีระกา ตรีศก (จุลศักราช ๑๒๒๓) ท่านมีชนมายุได้ ๒๕ ปี จึงอุปสมบทเป็นภิกษุ ณ วัดจักรวรรดิ์ราชาวาส พระอาจารย์นอง วัดจักรวรรดิราชาวาส เป็นพระอุปัชฌายะ เจ้าอธิการแบน วัดบางกระสัน เป็น กรรมมวาจาจารย์ พระอาจารย์ทอง วัดบางกระสัน เป็นพระอนุสาวนาจารย์
ต่อมาพระพุทธศักราช ๒๔๑๔ (รัตนโกสินทรศก ๙๐) ตรงกับปีมะเมีย โทศก (จุลศักราช ๑๒๓๒) ท่านมีชนมายุ ๓๕ ปี มีพรรษา ๑๐ พรรษา ได้เป็นปลัดในพระวรญาณมุนี (เสง) พระราชาคณะวัดจักรวรรดิราชาวาส (ซึ่งภายหลังเลื่อนเป็นพระโพธิวงษาจารย์ ญาณวิสุทธิจริยา ปรินายก)
วันที่ ๑๓ พฤษภาคม พระพุทธศักราช ๒๔๓๒ (รัตนโกสินทรศก ๑๐๘) ตรงกับ ณ วันจันทร์ ขึ้น ๑๔ ค่ำ เดือน ๖ ปีฉลู เอกศก (จุลศักราช ๑๒๕๑) ท่านมีชนมายุ ๕๓ ปี มีพรรษา ๒๘ พรรษา ได้รับพระราชทานสัญญาบัตรโดย พระบรมมหาบพิตรพระราชสมภารเจ้า พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระราชทานให้เป็นพระครูภาวนาวิจารน์ ผู้ช่วยกิจการในวัดจักรวรรดิราชาวาส มีนิตยภัตรเดือนละ ๑ บาท ๒ สลึง
วันที่ ๑๗ มีนาคม พระพุทธศักราช ๒๔๓๕ (รัตนโกสินทรศก ๑๑๑) ตรงกับ ณ วันศุกร์แรม ๑๕ ค่ำ เดือน ๔ ปีมะโรง จัตวาศก (จุลศักราช ๑๒๕๔) ท่านมีพระชนมายุ ๕๖ ปี มีพรรษา ๓๑ พรรษา ได้รับพระราชทานสัญญาบัตรโดยพระบรมมหาบพิตร พระราชสมภารเจ้า พระบรมสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระราชทานเลื่อนขึ้นเป็นพระมงคลทิพมุนี สถิตย์พระพุทธบาท เกาะสีชัง เจ้าคณะใหญ่แขวงเมืองสมุทรปราการ มีนิตยภัตรเดือนละ ๓ บาท ภายหลังได้เพิ่มนิตยภัตรเป็นเดือนละ ๗ บาท ๒ สลึง
วันที่ ๓๐ ธันวาคม พระพุทะศักราช ๒๔๕๖ (รัตนโกสินทรศก ๑๓๒) ตรงกับ ณ วันอังคาร ขึ้น ๔ ค่ำ เดือนยี่ ปีฉลู เบญจศก (จุลศักราช ๑๒๗๕) วัน เดือน ปี นี้ ท่านมีชนมายุได้ ๗๗ ปี มีพรรษา ๕๒ พรรษา พระบรมมหาบพิตรพระราชสมภารเจ้า พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงเครื่องยศทหารปืนใหญ่ เสด็จประทับพระที่นั่งอมรินทร์วินิจฉัย โปรดเกล้าฯ ให้พระยาศรีสุนทรโวหาร อ่านประกาศกระแสพระบรมราชโองการ ตั้งสมณศักดิ์ พระราชทานหิรัญบัตร เลื่อนพระมงคลทิพมุนี เป็นพระราชาคณะผู้ใหญ่ เพิ่มนิตยภัตรเป็นเดือนละ ๘ บาท มีนามตามจารึกในหิรัญบัตร และประกาศตั้ง ดังแจ้งต่อไปนี้
ศุภมัสดุ พระพุทะศาสนกาล เป็นอดีตภาค ๒๔๕๖ พรรษกาลปัตยุบัน จันทรโคจร อุสภสัมพัตสร บุศยมาศ สุกกปักษ์ จตุตถิดิถึ ภุมวาร สุริยคติกาล ธันวาคมมาส ติงสติมสุรทิน โดยกาลนิยม
พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาวชิราวุธ เอกอรรคมหาบุรุษบรมนราธิราช ฯ บรมนารถบพิตร พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระดำริว่า พระมงคลทิพมุนี ประกอบด้วยวิริยอุตสาหในกิจอันเป็นคุณประโยชน์ในพระศาสนา ชำนาญในวิปัสนาธุระ เป็นพระอุปัชฌายะให้อุปสมบทแก่กุลบุตรเป็นอันมาก มีอัธยาศัยโอบอ้อมอารี เป็นทีชอบที่นับถือของชนทั้งหลาย เพราะขวนขวายสงเคราะห์ประชาราษฎร์ อันมีทุกข์ลำบากด้วยพยาธิทุกข์ และมรณภัยให้มีความสะดวกใจทุกสถาน เอาใจใสในการก่อสร้างแลปฏิสังขรณ์อารามวิหาร เป็นผู้รักษาการพระพุทธบาท ได้จัดการทำนุบำรุงให้มีความเจริญยิ่งขึ้น เป็นที่สะดวกสบายแก่สัปบุรุษ ผู้ขึ้นไปนมัสการรอยพระพุทธบาทตาฤดูกาล และได้ชักชวนผู้มีศรัทธา ให้บริจาคทรัพย์ จัดการปฏิสังขรณ์พระมณฑปพระพุทธบาท อันชำรุดทรุดโทรมมาแต่ก่อน ให้ดีดังเดิมแล้วเสร็จบริบูรณ์ แล ขวนขวายในการที่จะให้เกิดประโยชน์ บำรุงพระอารามให้รุ่งเรืองขึ้นเป็นอันมาก บัดนี้ก็ประกอบด้วยพรรษายุกาลมีวัยวุฒิเป้นพระเถระผู้ใหญ่ สมควรจะพระราชทานเพิ่มสมณศักดิ์ ให้ดำรงตำแหน่งอันสูงขึ้นได้ จึงทรงพระกรุณาแรดเกล้าโปรดกระหม่อม ให้สถาปนาพระมงคลทิพมุนี เป็นพระราชาคณะผู้ใหญ่ เจ้าคณะอรัญวาสี มีนามตามจารึกในหิรัญบัตรว่า พระพุฒาจารย์ อเนกสถานปรีชาวิสุทธศีลจรรยาสมบัติ นิพัทธธุตคุณ สิริสุนทรพรตจาริก อรัญญิกคณิศราธิการ อภิบาลบทวลัญช์ อรัญวาสี สังฆนายก เจ้าคณะอรัญวาสี มีสมณศักดิ์เสมอเจ้าคณะรอง สถิต ณ วัดจักรวรรดิ์ราชาวาสราชวรวิหาร พระอารามหลวง มีถานุศักดิ์ควรตั้งถานานุกรมได้ ๘ รูป คือ พระครูปลัดสุวัฒสมณาจารย์ ปรีชาญาณจาริก อรัญญิกสังฆนายกธุระวาหะ ๑ พระครูวินัยธร ๑ พระครูวินัยธรรม ๑ พระครูศัพทสุนทร ๑ พระครูอมรโกษิต ๑ พระครูธรรมรักขิต ๑ พระครูสมุห์ ๑ พระครูใบฎีกา ๑ รวม ๘ รูป
วันที่ ๒๘ กันยายน พระพุทธศักราช ๒๔๕๗ (รัตนโกสินทรศก ๑๓๓) ตรงกับวันจันทร์ ขึ้น ๙ ค่ำ เดือน ๑๑ ปีขาล ฉศก (จุลศักราช ๑๒๗๖) ท่านเริ่มอาพาธด้วยโรคลมแน่นเสียด มีแพทย์หลวงและแพทย์เชยศักดิ์หลายนาย ประกอบยารักษาพยาบาล อาการมีแต่ทรงกับทรุด วันปวารณา เป็นวันเคยลงอุโบสถไม่ขาด ถึงกับลงอุโบสถไม่ได้ พระมงคลทิพมุนีครั้งยังเป็นพระธรรมวิหารีเถร พร้อมด้วยพระภิกษุถานาเปรียญที่เลิกจากปวารณาในอุโบสถแล้ว มาปวารณาที่กุฎีพระพุฒาจารย์อีกครั้ง ๑
ต่อมาวันที่ ๙ ตุลาคม พระพุทะศักราช ๒๔๕๗ (รัตนโกสินทรศก ๑๓๓) ตรงกับ ณ วันศุกร์ แรม ๕ ค่ำ เดือน ๑๑ ปีขาล ฉศก (จุลศักราช ๑๒๗๖) เวลา ๑๐ ทุ่ม ๓๐ นาที ท่านได้ถึงแก่มรณภาพ มีชนมายุ ๗๘ ปี กับ ๑ เดือน ๒๒ วัน มีพรรษาได้ ๕๒ พรรษา
รุ่งขึ้นเช้าวันที่ ๑๐ ตุลาคม พระพุทธศักราช ๒๔๕๗ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานน้ำสรงศพ ฝ่ายสงฆ์ที่ทรงสมณศักดิ์ มีสมเด็จพระบรมวงศ์เธอ กรมพระยาวชิรญาณวโรรส มหาสังฆนายก เสด็จเป็นปราน แล้วมีสมเด็จพระบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยาภานุพันธุวงศ์วรเดช เสด็จภายหลัง กับทั้งบรมวงศานุวงศ์ และข้าราชการอีกมากที่ได้เสด็จและมาในวันนั้น ส่วนศพได้รับพระราชทานโกศ ๘ เหลี่ยม ฉัตร ๕ ชั้น ๔ คัน มีกลองชนะ เครื่องอินทร์ ๕ คู่ ปี่ไฉน ๑ คัน พระสงฆ์สวดพระอภิธรรมประจำ ๑ สร้าง มีกำหนด ๑ เดือน เป็นเกียรติยศยิ่ง
ประวัติย่อพอสังเขปเพียงเท่านี้
ที่มา
http://www.dharma-gateway.com/monk/monk_biography/lp-ma/lp-ma-hist-01.htm
ความคิดเห็น :
1
อ้างอิง
pg slot
pg slot
ปิ้งยิ่งที่สุดแล้วก็ฝากถอนเงินในแต่ละครั้งได้ไม่มีอย่างน้อย สิทธิพิเศษสำหรับในการวางเดิมพันที่จะสามารถทำให้ทุกๆคนใกล้
PG SLOT
เงินจำนวนเป็นอันมาก
pg slot
[162.158.107.xxx] เมื่อ 18/01/2024 20:39
ความคิดเห็นของผู้เข้าชม
ชื่อผู้แสดงความคิดเห็น :
สถานะ :
บุคคลทั่วไป
สมาชิก
เจ้าของเว็บ
รหัสผ่าน :
ลิงค์ที่เกี่ยวข้อง :
รหัสความปลอดภัย :
ศูนย์รวมพระเครื่อง และ ความรู้พระเครื่อง
อันดับหนึ่งของภาคเหนือตอนล่างภาคกลางตอนบน
หน้าแรก
ติดต่อเรา