สินค้า
บทความ
ประวัติคณาจารย์
ประวัติหลวงพ่อกวย วัดโฆษิตาราม
ประวัติหลวงพ่อแพ วัดพิกุลทอง
ประวัติพระพุฒาจารย์ เอนกสถาน ปรีชาฯ (ท่านเจ้ามา)
หลวงพ่อจันทร์ โฆสโก วัดหาดสองแคว
หลวงพ่อกล่อม พรมสโร วัดป่ากะพี้
หลวงพ่อไซร้ ติสสฺโร วัดช่องลม
หลวงปู่เขียน วัดสำนักขุนเณร
หลวงพ่อสว่าง วัดท่าพุทรา
หลวงปู่ทิม วัดระหารไร่
หลวงปู่ศุข วัดปากคลองมะขามเฒ่า
หลวงพ่อเงิน วัดบางคลาน
หลวงพ่อเดิม วัดหนองโพธิ์
หลวงพ่อทบ วัดชนแดน
หลวงปู่ทองดำ วัดท่าทอง
หลวงปู่พิมพา วัดหนองตางู
ประวัติพระกรุ
พระผงสุพรรณ จ.สุพรรณบุรี
พระรอด กรุมหาวัน
พระซุ้มกอ (พระกำแพงซุ้มกอ) จ.กำแพงเพชร
พระหลวงพ่อเงินกรุวัดขวาง
พระนางพญาพิษณุโลก
พระนางพญากรุเจดีย์กลางน้ำ
ประวัติพระเครื่อง/เครื่องราง/มีดหมอ
ประวัติพระสมเด็จวัดเกศไชโย
ประวัติพระสมเด็จวัดบางขุนพรหม
พระชัยวัฒน์ท่านเจ้ามา
พระสมเด็จวัดะฆัง
ประวัติการสร้างเหรียญพระยาพิชัยดาบหัก รุ่นแรก ปีพ.ศ.2513
ขั้นตอนการสร้างตะกรุด หลวงพ่อทบ
การสร้างตะกรุดลูกปืน
ประวัติการลงสูตรลบผงหลวงพ่อทบ
ประวัติตะกรุดหลวงพ่อทบ วัดชนแดน
ประวัติมีดหมอหลวงพ่อเดิม
รู้ทันพระแท้
พระสมเด็จวัดเกศไชโยพิมพ์เจ็ดชั้นอกตลอด
'พระสมเด็จวัดเกศไชโยพิมพ์ ๖ ชั้นอกตัน
พระสมเด็จเกศไชโยพิมพ์ ๗ ชั้น
พระสมเด็จอรหังพิมพ์เล็กมีประภามณฑล
พระสมเด็จอรหังพิมพ์ฐานคู่
'พระสมเด็จอรหังพิมพ์ใหญ่ ฐานสามชั้น
'พระสมเด็จวัดบางขุนพรหม พิมพ์ใหญ่พระอุระเล็ก (อกเล็ก)
'พระสมเด็จวัดบางขุนพรหมพิมพ์ใหญ่ พระกรโค้ง' (แขนโค้ง)
พระสมเด็จวัดบางขุนพรหมพิมพ์ใหญ่
พระสมเด็จวัดบางขุนพรหม พิมพ์อกครุฑเล็ก
พระสมเด็จวัดบางขุนพรหม พิมพ์อกครุฑ
'พระสมเด็จวัดบางขุนพรหม พิมพ์สังฆาฏิไม่มีพระกรรณ
'พระสมเด็จวัดบางขุนพรหมพิมพ์สังฆาฏิ
'พระสมเด็จวัดบางขุนพรหมพิมพ์ฐานแซมพระอุระร่อง
'พระสมเด็จวัดบางขุนพรหมพิมพ์ฐานแซม
พระสมเด็จวัดบางขุนพรหมพิมพ์เส้นด้ายฐานแคบ
พระสมเด็จพิมพ์เส้นด้ายอกวี
พระสมเด็จวัดบางขุนพรหม พิมพ์เส้นด้ายแขนกลม
พระสมเด็จวัดบางขุนพรหมพิมพ์เส้นด้าย
พระสมเด็จบางขุนพรหม พิมพ์ใหญ่พระพักตร์เล็ก
พระรอดพิมพ์ต้อวัดมหาวัน
พระรอดพิมพ์กลางวัดมหาวัน
พระรอดพิมพ์เครื่องราชฯพิมพ์ที่ 2
พระรอดพิมพ์เครื่องราชพิมพ์ที่ 1
ตำหนิ พระซุ้มกอ(พิมพ์ใหญ่มีกนก) จ.กำแพงเพชร
พระนางพญาพิมพ์เข่าโค้ง
ชั่วโมงเซียน - เหรียญจบที่...ขอบ
การดูพื้นเหนรยญพระปั้ม
หลักการดูพระทั่วๆไป
การดูมีดหลวงพ่อเดิม
บทความทั่วไป
พระรอดพิมพ์ตื้นวัดมหาวัน
เรื่องใกล้ตัวแมลงกินพระเนื้อว่าน
เล่นพระยังไง ให้เป็นซะที
ประมูลพระเครื่อง
ปฎิทิน
April 2025
Sun Mon Tue Wed Thu Fri Sat
  
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
   
สถิติ
เปิดเมื่อ5/10/2011
อัพเดท27/02/2013
ผู้เข้าชม862764
แสดงหน้า1054010




เรื่องใกล้ตัวแมลงกินพระเนื้อว่าน

อ่าน 1960 | ตอบ 0
เรื่องใกล้ตัวแมลงกินพระเนื้อว่าน คัดลอกบทความมาจาก http://pratare.blogspot.com/2008/11/blog-post_06.html เรื่องใกล้ตัวแมลงกินพระเนื้อว่าน ผมจะกล่าวถึงเรื่องแมลงกินพระ ซึ่งเกิดขึ้นกับบุคคลคนหนึ่ง เป็นเซียนพระอยู่ที่ท่าพระจันทร์ ขอเรียกชื่อนามสมมุติว่า คุณ สน เรื่องมีอยู่ว่าวันหนึ่งคุณ สนได้ปวดหัวอย่างรุนแรง และได้เข้ารับการรักษาที่โรงพยาบาลแห่งหนึ่ง คุณ หมอได้ทำการตรวจเช็คหลายต่อหลายครั้งก็ไม่พบสาเหตุ จนคนไข้ เริ่มมีอาการหนักขึ้นเรื่อยๆ ถึงกับเข้าห้อง i.c.u. ทำการเอ็กซเรย์อย่างเร่งด่วน..... ปรากฎว่าพบที่สมองมีสิ่งแปลกปลอม แต่ก็ไม่ทราบว่าเป็นอะไรหลังจากตรวจอย่างละเอียดอีกครั้งและสอบประวัติคนไข้ ก็ได้ข้อมูลจากญาติของคนไข้ว่า มีอาชีพเปิดตู้รับเช่าพระที่ท่าพระจันทร์ ส่วนใหญ่กิจวัตรประจำวันที่ทำคือ นำพระมาตรวจเช็คโดยการเข้ากล้องส่องพระบ่อยๆ..... คุณหมอได้ข้อมูลเพิ่มเติมมาอย่างละเอียด จึงสันนิฐานว่าเกิดจากตัวแมลงกินพระได้เข้าทางโพรงจมูกขณะส่องพระ โดยการหายใจแรงๆเข้าไป ทำให้แมลงไปใข่ทิ้งไว้ในสมอง จึงได้ทำการผ่าตัดด่วน หลังจากผ่าตัดแล้วเสร็จ ปัจจุบันคนไข้เริ่มมีอาการดีขึ้นเรื่อยๆ หมอบอกว่าโชคดีที่ตรวจเช็คเจอก่อนที่จะสายเกิน แมลงกินพระชนิดนี้ปรับตัวอยู่ได้ทุกสถานะการณ์ ลองคิดดู ขนาดพระเลี่ยมกรอบพลาสติกกันน้ำอย่างดีไม่มีอากาศเข้า ก็ยังอยู่ได้คิดดูมันน่ากลัวขนาดใหน ผมจึงนำเรื่องที่เกิดขึ้นมาบอกเล่าให้เพื่อนสมาชิกต้องระมัดระวังตัวเวลาส่องพระเนื้อผง เนื้อดินฯลฯ..... จากคำบอกเล่าของเพื่อนๆสมาชิกได้แสดงความเห็นไว้หลากหลายวิธีกำจัด ลองอ่านความคิดเห็นดูจากหลายๆท่านแสดงไว้.... 1.ตัวกินพระห้ามบี้นะครับ.ส่วนตัวท้องอุดมไปด้วยพยาธิและโปรโตซัวแถมไข่แก่มันยังจะติดพระทำให้ฟักออกมาได้ถ้าสภาพแวดล้อมเหมาะสมทางที่ดีเลือกใช้กลิ่นขมิ้นจะดีที่สุดครับ..ไล่ได้ดีจริง.... 2.การเก็บพระในกล่องควรนำซองกันชื้นใส่ลงไปด้วยครับเป็นการป้องกันครับ (แมลงพวกนี้อยู่ได้ดีในที่มีความชื้นครับ) ซองกันชื้นที่อยู่ในขนมกรอบๆก็ไช้ได้ครับซองเล็ก 3.นำพระไปแช่ในน้ำอุ่นๆ(ใส่แก้วใสก็ได้) พอพระแช่ในน้ำจะเกิดเป็นฟองอากาศก็แสดงว่าพระนั้นมีอายุพอสมควรแช่จนฟองอากาศหมดจึงนำออกมาผึ่งลมไว้ให้แห้งแล้วเก็บไว้เหมือนเดิม ลองทำดูครับรับรองไม่เสียเนื้อพระ 4.สำหรับแมลงประเภทนี้เป็นแมลงตระกูลปลวก แต่ที่ตัวสีขาวเนื่องจากเป็นแมลงที่อยู่แต่ในร่มผิวไม่สังเคราะห์แสงจึงขาว(บางชนิดสีเทา ๆ)..เมื่อเกิดแล้วกำจัดยาก เนื่องจากกำจัดตัวแมลงตายแต่ไข่ยังอยู่ การแก้ไขให้ขาดก็คือแช่พระในแอลกอฮอร์ที่เจือจางแบบที่ใช้เช็ดแผล แต่เก็บพระก็ต้องระวังไม่ให้เกิดความชื้น หรือเก็บรวมกับหนังสือเก่า และควรนำพระที่เก็บไว้ออกผึ่งแดดบ้างเป็นบางครั้ง......โดยเฉพาะพระเนื้อผง... 5.มีบางท่านแนะนำว่าให้นำเข้าช่องฟิต อุณภูมิต่ำกว่า 25 องศาสักพักใหญ่ก็เรียบร้อย...... Link : http://pratare.blogspot.com/2008/11/blog-post_06.html
ความคิดเห็นของผู้เข้าชม
ชื่อผู้แสดงความคิดเห็น :
สถานะ : รหัสผ่าน :
ลิงค์ที่เกี่ยวข้อง :
รหัสความปลอดภัย :
 


ศูนย์รวมพระเครื่อง และ ความรู้พระเครื่อง
อันดับหนึ่งของภาคเหนือตอนล่างภาคกลางตอนบน