พุทธศิลป์พระรอดพิมพ์เครื่องราชฯพิมพ์ที่ 2 (มีกำไลปล้องแขน)
ขยายรูปให้ใหญ่ขึ้นเพื่อจะได้ศึกษาเนื้อพระที่หินแคลเซี่ยมเกาะเนื้อพระเป็นเช่นใด?
-
โพธิ์มีลักษณะงุ้มมาด้านหน้า
-
เส้นรัศมี
-
ส
-
เส้นบังคับพิมพ์
-
โพธิ์มีลักษณะเป็นรูปคมขวาน
-
โพธฺมีเนื้อเกินซ้อนขึ้นมา (เซียนนิยมแต่เป็นรูปสีเหลี่ยม)
-
ปล้องกำไลที่แขนขวา
-
ห้วแม่มือเป็นรอยสับ
-
มีเส้นเล็กๆวิ่งใต้ฐาน
-
ก้านโพธิ์มีลักษณะคล้ายฝักดาบ
-
11 จุดไข่ปลาใต้โพธิ์สมมุติ
-
12 โพธิ์มีลักษณะเป็นเหลี่ยมคม
-
13 รอยครูดในแก้มด้านซ้ายองค์พระ
-
14 มีลักษณะคล้ายรากปมถ้วลิสง
-
15 เรื่องราชฯวงกลมเห็นขาช้างโผล่ออกมา
-
16 รอยขีดที่แขด้านซ้ายองค์พระ
-
17 เห็นห้วแม่มือเห็นรางๆ
-
18 เส้นผ้าทิพย์
-
19 เส้นน้ำตกคล้ายเท้านกเกาะกิ่งไม้
นอกนี้ยังมีปลีกย่อยเช่นเส้น้ำตกมี 3 จุดใต้ศอกซ้าย/ใต้เข่าซ้าย/ใต้ฐานบนเป็นแนวเดียวกัน ฐานอาสนมี 4 ชั้น เส้นผ้าปูรองนั่ง ( focus )
|